หมวดหมู่ : สุขภาพ
สำหรับหลาย ๆ คน คงจะเคยได้ยินเรื่องของเอนไซม์กันมาบ้างแล้ว วันนี้กองบรรณาธิการได้เรียบเรียงเนื้อหาเบื้องต้น เป็นการทบทวนความรู้อีกครั้ง เพื่อการดูแลสุขภาพที่ดีมากยิ่งๆขึ้น...
อาการเส้นประสาทแบบนี้ ใครเป็นบ้าง
ร่างกายของมนุษย์ มีเส้นประสาท (Nerve) อยู่เป็นจำนวนมาก เส้นประสาทเหล่านี้จะทำงานเชื่อมกับสมองและไขสันหลังเพื่อให้ร่างกายทำงานได้เป็นปกติ หากเส้นประสาทเกิดความเสียหาย แม้แต่การเคลื่อนไหวง่าย ๆ เช่น หยิบจับ ลุก เดิน...
ดูแลสุขภาพน้องสาว 9 วิธี ที่สาวใหญ่ต้องรู้
ยิ่งเข้าใกล้วัยทองมากเท่าไร ปัญหาสุขภาพในที่ลับซึ่งผู้หญิงเท่านั้นที่จะรู้ได้ ก็มักมีมาบ่อย ๆ ให้ได้กังวลใจทุกที เชื่อหรือไม่ว่าผู้หญิงบางคน อาจดูแลน้องสาวผิดวิธีมาเกือบตลอดทั้งชีวิตก็เป็นได้ ดังนั้นเรื่องสุขอนามัยในพื้นที่ลับไม่ใช่สิ่งน่าอาย แต่ควรทำความเข้าใจ เพื่อที่จะได้ระวัง...
ทำความเข้าใจ…ผู้ใหญ่ คิดอะไรบ้างที่ไม่เหมือนเด็ก
ผู้ใหญ่แตกต่างจากเด็ก เพราะผู้ใหญ่ใช้ชีวิตอ้างอิงประสบการณ์ และความทรงจำจากสิ่งต่าง ๆ จนกลายเป็นสัญชาติญาณ เเต่เด็กต่างออกไป ทุกอย่างสำหรับเด็ก จะใหม่และตื่นเต้น เพราะไม่ได้มีประสบการณ์มากมายที่เอามาใช้ตัดสิน เลยอาจมีหลายอย่างที่ทำให้ผู้ใหญ่กับเด็ก...
เซลล์ เนื้อเยื่อ และอวัยวะ (Cell, Tissue and Organ)
องค์ประกอบพื้นฐานของร่างกาย เริ่มจาก เซลล์ (Cell) โดยเซลล์หลาย ๆ เซลล์รวมกลุ่มเป็นเนื้อเยื้อ (Tissue) เนื้อเยื้อหลาย ๆ ประเภทจะรวมกลุ่มเป็นอวัยวะ (Organ) และอวัยวะหลาย ๆ อวัยวะจะทำหน้าที่ประสานกันเป็นระบบอวัยวะ (Organ system)...
อยากให้สุขภาพดี เริ่มตรวจสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเอง
การตรวจสุขภาพเป็นเรื่องจำเป็น เพราะทำให้เราได้รู้ถึงสถานการณ์ทางสุขภาพที่เป็นอยู่ ซึ่งโดยหลักเกณฑ์ที่เหมาะสมนั้น แพทย์จะแนะนำให้ตรวจสม่ำเสมอเป็นประจำ ทุกคนสามารถทำการตรวจสุขภาพเบื้องต้นได้ด้วยตนเอง เช่น การคำนวณดัชนีมวลกาย วัดเส้นรอบเอว วัดการเต้นของหัวใจ ซึ่งถ้าหมั่นสังเกตความเปลี่ยนแปลงของตัวเองอยู่เสมอ จะทำให้เราค้นพบความผิดปกติของตัวเอง เพื่อไปรับการตรวจวินิจฉัยและดูแลรักษาได้เร็วและทันท่วงที เช่น ภาวะซึมเศร้า โรคหัวใจและหลอดเลือด การติดแอลกอฮอล์ บุหรี่ และสารเสพติด การคัดกรองกระดูกพรุน การประเมินภาวะโภชนาการ การประเมินภาวะสมองเสื่อม ฯลฯ ซึ่งจะทำให้ได้รับทราบผลการประเมิน และยังได้รับคำแนะนำในการตรวจเพิ่มเติมสำหรับบุคคลที่มีความเสี่ยงด้านต่าง ๆ อีกด้วย การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมกับสภาวะสุขภาพที่เป็นอยู่ จะช่วยป้องกันและลดความเสี่ยงที่จะเกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ได้ดี เราทุกคนล้วนแต่ต้องการมีสุขภาพที่ดี สมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ แต่ก็อาจจะต้องเผชิญกับภาวะเจ็บไข้ได้ป่วย ไม่ว่าจะเนื่องมาจากอายุที่มากขึ้น จนทำให้ร่างกายเสื่อมถอยลงตามวัย หรือสภาพสังคมแวดล้อมที่อาจจะทำให้คนเรามีพฤติกรรมเสี่ยง ทั้งโดยตั้งใจ หรือไม่รู้ตัวก็ตาม การตรวจสุขภาพ การตรวจสุขภาพจึงเป็นเรื่องจำเป็น เพราะทำให้เราได้รู้ถึงสถานการณ์ทางสุขภาพที่เป็นอยู่ ซึ่งโดยหลักเกณฑ์ที่เหมาะสมนั้น แพทย์จะแนะนำให้ตรวจสม่ำเสมอเป็นประจำ หรืออย่างน้อยทุก 3 ปี ในบางกรณี โดยแพทย์จะทำการซักประวัติ ตรวจร่างกาย......
ท้องผูก จะใช้สมุนไพรอะไรช่วยได้บ้าง
ท้องผูก เป็นอาการภาวะผิดปกติของการถ่ายอุจจาระ ซึ่งจำนวนครั้งของการถ่ายอุจจาระน้อยผิดปกติ โดยทั่วไปน้อยกว่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์ถือว่าผิดปกติ และอุจจาระเป็นก้อนแข็ง...
ภัยใกล้บ้าน…โรคพิษสุนัขบ้า ร้ายแรง แต่ป้องกันได้
“โรคพิษสุนัขบ้า” “โรคกลัวน้ำ” หรือ “โรคหมาว้อ” (ในภาษาอีสาน) เป็นโรคติดเชื้อที่มีสาเหตุมาจาก Rabies virus ซึ่งเป็นเชื้อไวรัสก่อโรคในสัตว์เลือดอุ่น เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด เช่น สุนัข แมว วัว ควาย ลิง ชะนี กระรอก กระแต เสือ หมี หนู ค้างคาว รวมถึงคนด้วย ซึ่งในประเทศไทยพบมากที่สุดในสุนัข...
“ที่นอน” เพื่อสุขภาพการนอนที่ดี
มนุษย์เราใช้เวลาในการนอน ประมาณ 1 ใน 3 ของชีวิต ช่วงเวลาดังกล่าวจะเป็นช่วงเวลาที่สำคัญของร่างกาย โดยร่างกายจะมีกลไกสำคัญ ๆ ในช่วงเวลานอน เพื่อให้ร่างกายพร้อมมากที่สุดภายหลังการตื่นนอน ดังนั้นคุณภาพการนอน...
ข้อเข่าเสื่อม (Osteoarthritis Knee)
โรคข้อเสื่อม จะมีพยาธิสภาพหลักอยู่ที่ กระดูกอ่อน (articular cartilage) ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น กระดูกอ่อนผิวข้อบางลงและขรุขระ กระดูกงอกบริเวณขอบข้อ และน้ำไขข้อมีการสูญเสียคุณสมบัติ ทำให้มีปริมาณมากขึ้น แต่ความยืดหยุ่นลดลง เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากกระบวนการเสื่อมจะไม่สามารถกลับสู่สภาพเดิมและอาจทวีความรุนแรงขึ้นตามลาดับ...